Please use this identifier to cite or link to this item: http://kmutnb-ir.kmutnb.ac.th/jspui/handle/123456789/137
Title: Development of a Skill Training Kit for the Power Transmission System with Engineering-Based Learning for Vocational Certificate Students in the Industrial ProgramFaculty of Technical Education
การพัฒนาชุดฝึกทักษะระบบส่งกำลังของเฟืองชุดหัวเครื่องกลึงร่วมกับการเรียนรู้เชิงวิศวกรรมสำหรับนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพประเภทวิชาช่างอุตสาหกรรม
Authors: PONGSAK KOMPLEW
พงษ์ศักดิ์ คำเปลว
METHA OUNGTHONG
เมธา อึ่งทอง
King Mongkut's University of Technology North Bangkok
METHA OUNGTHONG
เมธา อึ่งทอง
metha.o@fte.kmutnb.ac.th,methao@kmutnb.ac.th
metha.o@fte.kmutnb.ac.th,methao@kmutnb.ac.th
Keywords: ชุดฝึกทักษะ ระบบส่งกำลัง เชิงวิศวกรรม ช่างอุตสาหกรรม
Skill Training Kit
Power Transmission System
Engineering
Industrial Technician
Issue Date:  9
Publisher: King Mongkut's University of Technology North Bangkok
Abstract: This research aimed to develop and evaluate the effectiveness of a skill training set integrated with engineering-based learning for the power transmission system of a lathe headstock. Additionally, it sought to compare the learning achievement of students who learned through the developed training set with engineering-based instruction. The sample group consisted of 25 vocational certificate students, selected using cluster sampling. The research instruments included: (1) a teaching problem observation record, (2) the skill training set, (3) an appropriateness assessment form with content validity indices ranging from 0.60 to 1.00, and (4) a learning achievement test with content validity between 0.60 and 1.00, discrimination indices ranging from 0.20 to 0.80, difficulty indices between 0.20 and 1.00, and an overall reliability coefficient of 0.79. Data were analyzed using content analysis, mean, standard deviation, and t-test statistics. The research findings indicated that the appropriateness of the skill training set for the lathe headstock gear power transmission system was at the highest level (Mean = 4.65, S.D. = 0.64). The effectiveness of the training set exceeded the 80/80 criterion. Furthermore, students’ post-instruction learning achievement significantly surpassed the 80 percent threshold at the 0.05 level of statistical significance.
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาและหาประสิทธิภาพชุดฝึกทักษะร่วมกับการเรียนรู้ตามหลักวิศวกรรมของระบบส่งกำลังของเฟืองชุดหัวเครื่องกลึง และเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่เรียนด้วยชุดฝึกทักษะร่วมกับการเรียนรู้ตามหลักวิศวกรรม กลุมตัวอย่างที่ใชในการวิจัย คือ นักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ จำนวน 25 คน ได้โดยใช้วิธีการสุมตัวอย่างแบบกลุม เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ 1) แบบบันทึกสภาพปัญหาการจัดการเรียนการสอน 2) ชุดฝึกทักษะ 3) แบบประเมินความเหมาะสม มีค่าความตรงเชิงเนื้อหาตั้งแต่ 0.60-1.00 และ 4) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน มีค่าความสอดคล้องตั้งแต่ 0.60-1.00 ค่าอำนาจจำแนกตั้งแต่ 0.2-0.80 ค่าความยาก 0.20-1.00 และค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับ 0.79 การวิเคราะห์ข้อมูล ประกอบด้วย การวิเคราะห์เนื้อหา ค่าเฉลี่ยส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติทดสอบค่าที ผลการวิจัย พบว่า ความเหมาะสมของชุดฝึกทักษะระบบส่งกำลังของเฟืองชุดหัวเครื่องกลึง ภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด (= 4.65, S.D. = 0.64) ประสิทธิภาพของชุดฝึกทักษะสูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนด 80/80 และผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนสูงหลังการใช้ชุดฝึกทักษะสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 80 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
URI: http://kmutnb-ir.kmutnb.ac.th/jspui/handle/123456789/137
Appears in Collections:FACULTY OF TECHNICAL EDUCATION

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
s6602017857053.pdf9.41 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.