Please use this identifier to cite or link to this item: http://kmutnb-ir.kmutnb.ac.th/jspui/handle/123456789/136
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorPEERACHAI CHAILEKen
dc.contributorพีระชัย ชัยเล็กth
dc.contributor.advisorMETHA OUNGTHONGen
dc.contributor.advisorเมธา อึ่งทองth
dc.contributor.otherKing Mongkut's University of Technology North Bangkoken
dc.date.accessioned2025-04-29T03:20:13Z-
dc.date.available2025-04-29T03:20:13Z-
dc.date.created2025
dc.date.issued9/6/2025
dc.identifier.urihttp://kmutnb-ir.kmutnb.ac.th/jspui/handle/123456789/136-
dc.description.abstractThis research aimed to develop and evaluate the effectiveness of a training set for the maintenance skills of lathe gear transmission systems, integrated with situational learning activities for industrial technician students. Additionally, it sought to compare the practical skills of students who used the training set against predetermined benchmark criteria. The sample consisted of 20 students, selected using cluster random sampling. The research instruments included: 1) a problem and solution recording form for teaching and learning management, 2) a training set, 3) an appropriateness assessment form with content validity ranging from 0.60 to 1.00, and 4) a skill evaluation form with content validity ranging from 0.60 to 1.00 and inter-rater reliability of 0.70. Data analysis methods included content analysis, calculation of means, standard deviations, and t-tests. The findings revealed that students lacked sufficient maintenance skills for real-world scenarios, as well as knowledge of proper maintenance behavior and processes. Previously used instructional materials primarily presented basic maintenance principles, resulting in students' academic performance falling below the benchmark.To address these gaps, the researcher developed a training set based on a situational learning approach, which allowed students to practice analytical thinking and problem-solving within realistic contexts. The training set's overall appropriateness was rated at a very high level ( = 4.77, S.D. = 0.39). The training set's efficiency exceeded the specified benchmark standard of 80/80. Furthermore, the comparison of students' practical skills after using the training set demonstrated statistically significant improvements, with performance exceeding 80% at the .05 significance level.en
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อพัฒนาและหาประสิทธิภาพชุดฝึกทักษะงานซ่อมบำรุงชุดเฟืองส่งกำลังของเครื่องกลึง ร่วมกับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เชิงสถานการณ์ของนักเรียนช่างอุตสาหกรรม และ2) เพื่อเปรียบเทียบทักษะการปฏิบัติงานของนักเรียนที่เรียนด้วยชุดฝึกทักษะกับเกณฑ์ กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 20 คน ได้มาโดยวิธีสุ่มตัวอย่างแบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ 1) แบบบันทึกสภาพปัญหาและแนวทางการแก้ปัญหาการจัดการเรียนการสอน 2) ชุดฝึกทักษะ 3) แบบประเมินความเหมาะสม มีความตรงเชิงเนื้อหาตั้งแต่ 0.60-1.00 และ 4) แบบประเมินทักษะ มีความตรงเชิงเนื้อหาตั้งแต่ 0.60-1.00 และค่าความเชื่อมั่นจากการสังเกตของเกณฑ์การประเมินระหว่างผู้ประเมิน เท่ากับ 0.70 การวิเคราะห์ข้อมูล คือ การวิเคราะห์เนื้อหา ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติทดสอบค่าที ผลการวิจัย พบว่า นักเรียนยังขาดทักษะการซ่อมบำรุงในสถานการณ์จริง ขาดความรู้ด้านพฤติกรรมและกระบวนการซ่อมบำรุงที่ถูกต้อง และใช้สื่อการสอนแสดงเพียงหลักการซ่อมบำรุงพื้นฐานทำให้นักเรียนมีผลการเรียนต่ำกว่าเกณฑ์ที่กำหนดผู้วิจัยจึงมีแนวคิดที่จะใช้การจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดการเรียนรู้เชิงสถานการณ์ โดยมีชุดฝึกทักษะในการเรียนรู้ ผู้เรียนจะได้ฝึกการคิดวิเคราะห์และการแก้ปัญหาในบริบทที่แท้จริง ความเหมาะสมของชุดฝึกทักษะ ภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด (= 4.77, S.D. = 0.39) ประสิทธิภาพของชุดฝึกทักษะงานซ่อมบำรุงชุดเฟืองส่งกำลังของเครื่องกลึงสูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนด 80/80 และผลการเปรียบเทียบทักษะการปฏิบัติงานของนักเรียนหลังการใช้ชุดฝึกทักษะสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 80 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05th
dc.language.isoth
dc.publisherKing Mongkut's University of Technology North Bangkok
dc.rightsKing Mongkut's University of Technology North Bangkok
dc.subjectชุดฝึกทักษะth
dc.subjectชุดเฟืองส่งกำลังth
dc.subjectการเรียนรู้เชิงสถานการณ์th
dc.subjectช่างอุตสาหกรรมth
dc.subjectTraining Seten
dc.subjectGear Transmission Systemen
dc.subjectSituated Learningen
dc.subjectIndustrial Technician Studentsen
dc.subject.classificationEngineeringen
dc.subject.classificationEngineeringen
dc.subject.classificationEducationen
dc.subject.classificationTraining for teachers of vocational subjectsen
dc.titleDevelopment of skill training sets Regarding maintenance of the power transmission gear of a lathe together with situational learning To promote academic achievement of students at the vocational certificate level Field of Study: Factory Mechanicsen
dc.titleการพัฒนาชุดฝึกทักษะ เรื่องงานซ่อมบำรุงชุดเฟืองส่งกำลังของเครื่องกลึง ร่วมกับการเรียนรู้เชิงสถานการณ์ เพื่อส่งเสริมผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ สาขาวิชาช่างกลโรงงานth
dc.typeIndependent Studyen
dc.typeการค้นคว้าอิสระth
dc.contributor.coadvisorMETHA OUNGTHONGen
dc.contributor.coadvisorเมธา อึ่งทองth
dc.contributor.emailadvisormetha.o@fte.kmutnb.ac.th,methao@kmutnb.ac.th
dc.contributor.emailcoadvisormetha.o@fte.kmutnb.ac.th,methao@kmutnb.ac.th
dc.description.degreenameMaster of Science in Technical Education (ค.อ.ม.)en
dc.description.degreenameครุศาสตร์อุตสาหกรรมมหาบัณฑิต (M.S.Tech.Ed.)th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineTeacher Training in Mechanical Engineeringen
dc.description.degreedisciplineครุศาสตร์เครื่องกลth
Appears in Collections:FACULTY OF TECHNICAL EDUCATION

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
s6602017857045.pdf6.23 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.