Please use this identifier to cite or link to this item: http://kmutnb-ir.kmutnb.ac.th/jspui/handle/123456789/114
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorPANU CHUCHUANGen
dc.contributorภาณุ ชูช่วงth
dc.contributor.advisorWIKANDA PHAPHANen
dc.contributor.advisorวิกานดา ผาพันธ์th
dc.contributor.otherKing Mongkut's University of Technology North Bangkoken
dc.date.accessioned2025-04-05T08:02:55Z-
dc.date.available2025-04-05T08:02:55Z-
dc.date.created2025
dc.date.issued9/6/2025
dc.identifier.urihttp://kmutnb-ir.kmutnb.ac.th/jspui/handle/123456789/114-
dc.description.abstractThe objective of this study is to develop a model for classifying employment status and identifying factors influencing whether workers in Thailand are engaged in formal or informal employment. The study utilizes data from the 2024 informal employment survey conducted by the National Statistical Office of Thailand. Two classification models, random forest and logistic regression, were developed. For logistic regression, independent variable selection was performed using five methods such as enter regression (including all variables), forward selection, backward elimination, stepwise selection, and feature importance derived from the random forest model, resulting in a total of six models. The results indicate that the Random Forest model provides the highest classification accuracy in distinguishing between formal and informal employment. Analyzing the importance of independent variables, the study finds that the most influential variable in classification is the type of wage received, followed by occupation, monthly wage, age, weekly working hours, years of education, region, household size, marital status, administrative area, and gender, respectively. Furthermore, all five logistic regression models yield similar results, with all independent variables significantly contributing to employment classification, except for years of education. This finding differs from the random forest model, where years of education play a moderately important role in classifying employment status.en
dc.description.abstractวัตถุประสงค์ของการศึกษาครั้งนี้ เพื่อสร้างตัวแบบที่สามารถจำแนกสถานภาพการทำงาน และเพื่อระบุปัจจัยที่ส่งผลต่อการประกอบอาชีพในระบบหรือนอกระบบของแรงงานในประเทศไทย โดยใช้ข้อมูลการสำรวจแรงงานนอกระบบ ปี พ.ศ. 2567 ของสำนักงานสถิติแห่งชาติ ด้วยการสร้างตัวแบบต้นไม้ป่าสุ่ม และตัวแบบถดถอยโลจิสติก สำหรับตัวแบบถดถอยโลจิสติก ทำการคัดเลือกตัวแปรอิสระเพื่อเข้าสู่ตัวแบบทั้งหมด 5 รูปแบบ ได้แก่ การนำตัวแปรเข้าทั้งหมด คัดเลือกตัวแปรด้วยวิธีเพิ่มตัวแปร คัดเลือกตัวแปรด้วยวิธีลดตัวแปร คัดเลือกตัวแปรด้วยวิธีเพิ่มตัวแปรอิสระแบบขั้นตอน และคัดเลือกตัวแปรโดยพิจารณาจากตัวแปรที่มีความสำคัญของตัวแบบต้นไม้ป่าสุ่ม รวมทั้งหมด 6 ตัวแบบ ผลการศึกษาพบว่าตัวแบบ เทคนิคต้นไม้ป่าสุ่ม มีประสิทธิภาพในการจำแนกสถานภาพแรงงานระหว่างการเป็นแรงงานในระบบหรือนอกระบบได้ดีที่สุด และจากการพิจารณาความสำคัญของตัวแปรอิสระจากตัวแบบ พบว่า ตัวแปรประเภทของค่าจ้างที่ได้รับ มีบทบาทสำคัญในการจำแนกประเภทสถานภาพแรงงานมากที่สุด รองลงมา ได้แก่ อาชีพ ค่าจ้างที่ได้รับต่อเดือน อายุ ชั่วโมงการทำงานต่อสัปดาห์ จำนวนปีที่ศึกษา ภาค จำนวนสมาชิกในครัวเรือน สถานภาพการสมรส เขตการปกครอง และเพศ ตามลำดับ อีกทั้ง ยังพบว่าตัวแบบ ตัวแบบถดถอยโลจิสติก ทั้ง 5 ตัวแบบ ให้ผลที่ใกล้เคียงกัน โดยทุกตัวแปรอิสระที่พิจารณามีความสำคัญในการจำแนกสถานภาพแรงงานอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ยกเว้นตัวแปรจำนวนปีที่ศึกษา ซึ่งให้ผลแตกต่างจากตัวแบบต้นไม้ป่าสุ่มที่ตัวแปรจำนวนปีที่ศึกษาค่อนข้างมีความสำคัญในระดับกลางกับการจำแนกสถานภาพแรงงานth
dc.language.isoth
dc.publisherKing Mongkut's University of Technology North Bangkok
dc.rightsKing Mongkut's University of Technology North Bangkok
dc.subjectแรงงานนอกระบบth
dc.subjectการวิเคราะห์ถดถอยโลจิสติกth
dc.subjectต้นไม้ป่าสุ่มth
dc.subjectFormal Employmenten
dc.subjectLogistic Regressionen
dc.subjectRandom Foresten
dc.subject.classificationDecision Sciencesen
dc.subject.classificationAdministrative and support service activitiesen
dc.titleClassification model for informal employment in Thailanden
dc.titleตัวแบบการจำแนกการประกอบอาชีพนอกระบบของแรงงานในประเทศไทยth
dc.typeIndependent Studyen
dc.typeการค้นคว้าอิสระth
dc.contributor.coadvisorWIKANDA PHAPHANen
dc.contributor.coadvisorวิกานดา ผาพันธ์th
dc.contributor.emailadvisorwikanda.p@sci.kmutnb.ac.th,wikandap@kmutnb.ac.th
dc.contributor.emailcoadvisorwikanda.p@sci.kmutnb.ac.th,wikandap@kmutnb.ac.th
dc.description.degreenameMaster of Science (วท.ม.)en
dc.description.degreenameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (M.Sc.)th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineApplied Statisticsen
dc.description.degreedisciplineสถิติประยุกต์th
Appears in Collections:FACULTY OF APPLIED SCIENCE

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
s6604051857089.pdf5.46 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.