Please use this identifier to cite or link to this item: http://kmutnb-ir.kmutnb.ac.th/jspui/handle/123456789/99
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorPEERAPAT NGERNSRIHEMen
dc.contributorพีรพัฒน์ เงินสีเหมth
dc.contributor.advisorTEERAWAT BOONYASOPONen
dc.contributor.advisorธีรวัช บุณยโสภณth
dc.contributor.otherKing Mongkut's University of Technology North Bangkoken
dc.date.accessioned2025-04-04T09:30:05Z-
dc.date.available2025-04-04T09:30:05Z-
dc.date.created2025
dc.date.issued9/6/2025
dc.identifier.urihttp://kmutnb-ir.kmutnb.ac.th/jspui/handle/123456789/99-
dc.description.abstractThis research aimed to 1) study the factors of potential model for production managers in new technology management for the garment industry to become a smart Industry in the digital age; 2) develop the potential model for production managers in new technology management for the garment industry to become a smart Industry in the digital age; and 3) develop the guideline for potential development of production managers in new technology management for the garment industry to become a smart industry in the digital age. This research employed Delphi Technique with a group of 20 purposive sampling specialists, comprising high-ranked executives from related government agencies to the garment industry; scholars; executives of textile associations; entrepreneurs and managers of garment plants, using in-depth interview in the first round and closed-ended questionnaire in the second and third rounds respectively. A focus group discussion of 14 experts was held to comment and assess the model for its suitability whereas the guideline was evaluated by a group of five experts for its completeness and practicality. The statistics used were frequency, percentage, median, and interquartile range.The research findings were as follows:- 1) the potential for production managers in new technology management for the garment industry to become a smart industry in the digital age comprised four main factors namely 1.1) Knowledge; 1.2) Skills; 1.3) Attributes; and 1.4) Management, 2) the potential model for production managers in new technology management for the garment industry to become a smart industry in the digital age encompassed four factors and 17 components. First, the knowledge in the production line for managers consisted of 1) product knowledge; 2) innovation to increase manufacturing efficiency to compete; 3) digital technology; and 4) laws and regulations. Second, the skills of manufacturing managers were 1) data analysis; 2) use of digital technology in the manufacturing process; 3) quality control; and 4) team management. Third, the attributes of the managers comprised 1) leadership; 2) personality; 3) morality and ethics; and 4) human relations. Last, the managerial strategy for production managers encompassed competency on 1) planning; 2) organizing; 3) commanding;  4) coordinating; and 5) controlling. As for the assessment of the potential model for production managers in new technology management for the garment industry to become a smart industry in the digital age, the experts agreed unanimously as suitable. The guideline, consisting of two main components namely, the introduction to the guideline; and principles and guideline for potential development of production managers in new technology management for the garment industry to become a smart Industry in the digital age, was also agreed upon as complete and practical for future implementation.en
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาองค์ประกอบของศักยภาพผู้จัดการโรงงานในการบริหารจัดการอุตสาหกรรมผลิตเสื้อผ้าสำเร็จรูปเพื่อก้าวสู่การเป็นอุตสาหกรรมอัจฉริยะในยุคดิจิทัล 2) พัฒนารูปแบบศักยภาพผู้จัดการโรงงานในการบริหารจัดการอุตสาหกรรมผลิตเสื้อผ้าสำเร็จรูปเพื่อก้าวสู่การเป็นอุตสาหกรรมอัจฉริยะในยุคดิจิทัล และ 3) จัดทำคู่มือแนวทางการพัฒนาศักยภาพผู้จัดการโรงงานในการบริหารจัดการอุตสาหกรรมผลิตเสื้อผ้าสำเร็จรูปเพื่อก้าวสู่การเป็นอุตสาหกรรมอัจฉริยะในยุคดิจิทัล โดยใช้เทคนิคเดลฟาย (Delphi Technique) ซึ่งผู้ให้ข้อมูลหลักคือ กลุ่มผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 20 คน คัดเลือกแบบเจาะจงเลือก ประกอบด้วย ผู้เชี่ยวชาญที่เป็นผู้บริหารระดับสูงของหน่วยงานภาครัฐที่มีความเกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการอุตสาหกรรมผลิตเสื้อผ้าสำเร็จรูป ผู้เชี่ยวชาญที่เป็นนักวิชาการ ผู้เชี่ยวชาญที่เป็นผู้บริหารสมาคมสิ่งทอ ผู้ประกอบการ และผู้จัดการโรงงานผลิตเสื้อผ้าสำเร็จรูป เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสัมภาษณ์เชิงลึกรอบที่ 1 และแบบสอบถามปลายปิด รอบที่ 2 และ 3 และการประชุมสนทนากลุ่ม (Focus Group) โดยผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 14 คน เพื่อให้ข้อเสนอแนะแลประเมินรูปแบบ และผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 5 คน ประเมินคู่มือ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ประกอบด้วย ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่ามัธยฐาน และค่าพิสัยระหว่างควอไทล์ผลการวิจัยพบว่า 1) ศึกษาองค์ประกอบของศักยภาพผู้จัดการโรงงานในการบริหารจัดการอุตสาหกรรมผลิตเสื้อผ้าสำเร็จรูปเพื่อก้าวสู่การเป็นอุตสาหกรรมอัจฉริยะในยุคดิจิทัล มีจำนวน 4 องค์ประกอบ ดังนี้ 1.1) ด้านความรู้ (Knowledge) 1.2) ด้านทักษะ (Skill) 1.3) คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (Attributes) และ 1.4) ด้านการบริหารจัดการ 2) รูปแบบศักยภาพผู้จัดการโรงงานในการบริหารจัดการอุตสาหกรรมผลิตเสื้อผ้าสำเร็จรูปเพื่อก้าวสู่การเป็นอุตสาหกรรมอัจฉริยะในยุคดิจิทัล ประกอบด้วย 4 องค์ประกอบหลัก และ 17 องค์ประกอบย่อย ดังนี้ 1) ความรู้ในสายงานผลิตของผู้จัดการ มีจำนวน 4 องค์ประกอบย่อย ได้แก่ 1.1) ความรู้เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์เสื้อผ้าสำเร็จรูป  1.2) ความรู้ด้านนวัตกรรมเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตเพื่อการแข่งขัน 1.3) ความรู้ด้านเทคโนโลยีดิจิทัล และ 1.4) ความรู้ด้านกฎหมาย 2) ทักษะในการผลิตของผู้จัดการ มีจำนวน 4 องค์ประกอบย่อย ได้แก่ 2.1) ทักษะการวิเคราะห์ข้อมูล 2.2) ทักษะการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในกระบวนการผลิต 2.3) ทักษะการควบคุมคุณภาพ และ 2.4) ทักษะการบริหารทีมงาน 3) คุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้จัดการ มีจำนวน 4 องค์ประกอบย่อย ได้แก่ 3.1) ด้านภาวะผู้นำ 3.2) ด้านบุคลิกภาพ  3.3) ด้านคุณธรรม จริยธรรม และ 3.4) ด้านมนุษยสัมพันธ์ และ 4) กลยุทธ์การบริหารการผลิตของผู้จัดการ มีจำนวน 5 องค์ประกอบย่อย ได้แก่ 4.1) ศักยภาพการวางแผนงาน 4.2) ศักยภาพการจัดการองค์กร 4.3) ศักยภาพการสั่งการ 4.4) ศักยภาพการประสานงาน และ 4.5) ศักยภาพการควบคุม โดยมีผลการประเมินรูปแบบจากการจัดประชุมสนทนากลุ่ม โดยผู้ทรงคุณวุฒิ 14 คน มีมติเป็นเอกฉันท์ เห็นว่ารูปแบบศักยภาพผู้จัดการโรงงานในการบริหารจัดการอุตสาหกรรมผลิตเสื้อผ้าสำเร็จรูปเพื่อก้าวสู่การเป็นอุตสาหกรรมอัจฉริยะในยุคดิจิทัล มีความเหมาะสม และ 3) คู่มือแนวทางการพัฒนาศักยภาพผู้จัดการโรงงานในการบริหารจัดการอุตสาหกรรมผลิตเสื้อผ้าสำเร็จรูปเพื่อก้าวสู่การเป็นอุตสาหกรรมอัจฉริยะในยุคดิจิทัล ประกอบด้วย 2 ส่วน คือ ส่วนที่ 1 การแนะนำคู่มือ และส่วนที่ 2 หลักการและแนวทางการพัฒนาศักยภาพผู้จัดการโรงงานในการบริหารจัดการอุตสาหกรรมผลิตเสื้อผ้าสำเร็จรูปเพื่อก้าวสู่การเป็นอุตสาหกรรมอัจฉริยะในยุคดิจิทัล  โดยผู้เชี่ยวชาญทั้ง 5 คน เห็นว่ามีความเหมาะสมสามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้th
dc.language.isoth
dc.publisherKing Mongkut's University of Technology North Bangkok
dc.rightsKing Mongkut's University of Technology North Bangkok
dc.subjectศักยภาพผู้จัดการโรงงาน  การบริหารจัดการ  อุตสาหกรรมผลิตเสื้อผ้าสำเร็จรูป   อุตสาหกรรมอัจฉริยะ  ยุคดิจิทัลth
dc.subjectPotential of Production Manageren
dc.subjectManagementen
dc.subjectGarment Industryen
dc.subjectSmart Industryen
dc.subjectDigital Ageen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.subject.classificationAdministrative and support service activitiesen
dc.subject.classificationManagement and administrationen
dc.titleDevelopment of Potential Model for Production Managers in New Technology Management for the Garment Industry to Become a Smart Industry in the Digital Ageen
dc.titleการพัฒนารูปแบบศักยภาพผู้จัดการโรงงานในการบริหารจัดการอุตสาหกรรมผลิตเสื้อผ้าสำเร็จรูป เพื่อก้าวสู่การเป็นอุตสาหกรรมอัจฉริยะในยุคดิจิทัลth
dc.typeDissertationen
dc.typeดุษฎีนิพนธ์th
dc.contributor.coadvisorTEERAWAT BOONYASOPONen
dc.contributor.coadvisorธีรวัช บุณยโสภณth
dc.contributor.emailadvisorteerawat.b@cit.kmutnb.ac.th,teerawatb@kmutnb.ac.th
dc.contributor.emailcoadvisorteerawat.b@cit.kmutnb.ac.th,teerawatb@kmutnb.ac.th
dc.description.degreenameDoctor of Business Administration (บธ.ด.)en
dc.description.degreenameบริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต (D.B.A.)th
dc.description.degreelevelDoctoral Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาเอกth
dc.description.degreedisciplineIndustrial Business and Human Resource Developmenten
dc.description.degreedisciplineการพัฒนาธุรกิจอุตสาหกรรมและทรัพยากรมนุษย์th
Appears in Collections:FACULTY OF BUSINESS AND INDUSTRIAL DEVELOPMENT

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
s6516011956046.pdf15.12 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.