Please use this identifier to cite or link to this item: http://kmutnb-ir.kmutnb.ac.th/jspui/handle/123456789/98
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorNATTAPON KAMPENGen
dc.contributorณัฐพล คำเพ็งth
dc.contributor.advisorSUNEE WATTANAKOMOLen
dc.contributor.advisorสุนีย์ วรรธนโกมลth
dc.contributor.otherKing Mongkut's University of Technology North Bangkoken
dc.date.accessioned2025-04-04T09:20:48Z-
dc.date.available2025-04-04T09:20:48Z-
dc.date.created2025
dc.date.issued9/6/2025
dc.identifier.urihttp://kmutnb-ir.kmutnb.ac.th/jspui/handle/123456789/98-
dc.description.abstractRising plastic demand and high raw material costs highlight waste reduction as vital for cost efficiency and competitiveness. This research aims to study the application of lean principles to enhance production efficiency in the plastics industry. The population consists of 100 samples, including production managers, supervisors, and staff, with questionnaires serving as the research tool. Data analysis employed statistical measures such as percentage, mean, standard deviation, mean difference analysis, and one-way ANOVA.           The research reveal that overall importance level of lean principles to enhance production efficiency in the plastics industry is high (x̄=4.11) when categorized by specific aspect, it was found that the importance of eliminating process irregularities (MURA) is high (x̄=4.14) The most critical item within this aspect is effective team building emphasizing strong collaboration and communication to identify and address irregularities (x̄=4.36) In terms of eliminating system overburden (MURI), the importance level is similarly high (x̄=4.11) with workload balancing ensuring equitable task distribution between employees and machinery to reduce overburden being the highest rated item (x̄=4.31). For waste elimination in processes (MUDA) the importance level remains high (x̄=4.08) with planned maintenance to ensure machinery is consistently ready for production, being the highest-rated item (x̄=4.29). The comparison of mean differences across variables such as registration type, business operational duration, and business size indicates statistically significant differences at the 0.05 level                                                                                                                                (Total 181 pages)en
dc.description.abstractความต้องการพลาสติกที่เพิ่มขึ้นและต้นทุนวัตถุดิบสูงเน้นย้ำว่าการลดความสูญเปล่าเป็นกุญแจสู่การลดต้นทุนและเพิ่มความสามารถในการแข่งขัน การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการประยุกต์ใช้แนวคิดลีนเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตในกลุ่มธุรกิจอุตสาหกรรมพลาสติกกลุ่มประชากรในการวิจัยได้แก่ ผู้จัดการแผนก หัวหน้างานและพนักงานในฝ่ายผลิต จำนวน 100 ราย โดยใช้แบบสอบ ถามเป็นเครื่องมือในการวิจัย สถิติที่ใช้นการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละค่าเฉลี่ยส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานการวิเคราะห์ความแตกต่างของค่าเฉลี่ย และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว       ผลการวิจัยพบว่า ระดับความสำคัญเกี่ยวของการประยุกต์ใช้แนวคิดลีนเพื่อเพิ่มประสิทธิ ภาพการผลิตในกลุ่มธุรกิจในกลุ่มอุตสาหกรรมพลาสติกโดยภาพรวมมีความสำคัญอยู่ในระดับมาก        (x̄=4.11) เมื่อจำแนกเป็นรายด้านพบว่าด้านการกำจัดความไม่สม่ำเสมอของกระบวนการ (MURA) มีความสำคัญอยู่ในระดับมาก(x̄=4.14) รายข้อที่มีระดับความสำคัญมากที่สุดได้แก่ สร้างทีมงานที่มีประสิทธิภาพ เน้นการทำงานร่วมกันได้ดีและมีการสื่อสารที่ดี เพื่อระบุและแก้ไขปัญหาความไม่สม่ำเสมอ(x̄=4.36) ด้านการกำจัดการทำงานเกินกำลังของระบบ (MURI) มีความสำคัญอยู่ในระดับมาก (x̄ =4.11) รายข้อที่มีระดับความสำคัญมากที่สุดได้แก่ ปรับสมดุลงาน โดยการแบ่งงานให้เท่าเทียมกันระหว่างพนักงานและเครื่องจักรเพื่อลดการทำงานเกินกำลัง (x̄=4.3) ด้านการกำจัดความสูญเปล่าในกระบวนการ (MUDA) มีความ สำคัญอยู่ในระดับมาก (x̄=4.08) รายข้อที่มีระดับความสำคัญมากที่สุดได้แก่บำรุงรักษาเครื่องจักรตามแผนที่วางไว้ให้มีสภาพพร้อมผลิตตลอดเวลา(x̄=4.29)  ผลการเปรียบเทียบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยระดับความสำคัญเกี่ยวกับการประยุกต์ใช้แนวคิดลีนเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตในกลุ่มธุรกิจอุตสาหกรรมพลาสติก ด้านรูปแบบการจดทะเบียน ด้านระยะเวลาในการดำเนินธุรกิจ และด้านขนาดของธุรกิจ โดยภาพรวม มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05                                                                  (การค้นคว้าอิสระนี้มีจำนวนทั้งสิ้น 181 หน้า)th
dc.language.isoth
dc.publisherKing Mongkut's University of Technology North Bangkok
dc.rightsKing Mongkut's University of Technology North Bangkok
dc.subjectแนวคิดลีนth
dc.subjectการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตth
dc.subjectอุตสาหกรรมพลาสติกth
dc.subjectLean Principlesen
dc.subjectEnhancing Production Efficiencyen
dc.subjectPlastics Industryen
dc.subject.classificationBusinessen
dc.subject.classificationManufacturingen
dc.subject.classificationMaterials (wood, paper, plastic, glass)en
dc.titleApplication of Lean Concepts to Increase Production Efficiency in The Plastics Industries.en
dc.titleการประยุกต์ใช้แนวคิดลีนเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตในกลุ่มธุรกิจอุตสาหกรรมพลาสติกth
dc.typeIndependent Studyen
dc.typeการค้นคว้าอิสระth
dc.contributor.coadvisorSUNEE WATTANAKOMOLen
dc.contributor.coadvisorสุนีย์ วรรธนโกมลth
dc.contributor.emailadvisorsunee.w@fba.kmutnb.ac.th,suneewan@kmutnb.ac.th
dc.contributor.emailcoadvisorsunee.w@fba.kmutnb.ac.th,suneewan@kmutnb.ac.th
dc.description.degreenameMaster of Business Administration (บธ.ม.)en
dc.description.degreenameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (M.B.A.)th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineIndustrial Business Administrationen
dc.description.degreedisciplineบริหารธุรกิจอุตสาหกรรมth
Appears in Collections:FACULTY OF BUSINESS ADMINISTRATION

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
s6614011857398.pdf2.04 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.