Please use this identifier to cite or link to this item: http://kmutnb-ir.kmutnb.ac.th/jspui/handle/123456789/93
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorNAPASORN KAEWMONGKOLen
dc.contributorนภสร แก้วมงคลth
dc.contributor.advisorPANNARAI LATAen
dc.contributor.advisorพรรณราย ละตาth
dc.contributor.otherKing Mongkut's University of Technology North Bangkoken
dc.date.accessioned2025-04-04T09:20:46Z-
dc.date.available2025-04-04T09:20:46Z-
dc.date.created2025
dc.date.issued9/6/2025
dc.identifier.urihttp://kmutnb-ir.kmutnb.ac.th/jspui/handle/123456789/93-
dc.description.abstractThe purposes of this study were: 1) to examine the operational characteristics of manufacturing organizations in Rayong Province, 2) to explore strategies to enhance the capabilities of these organizations, 3) to compare mean in approaches for elevating organizational performance based on operational characteristics.  The sample consisted of 120 manufacturing factories, with data provided by organizational executives. The research tool was a questionnaire, with an overall reliability score of 0.97. The corrected item-total correlation values ranged from 0.58 to 0.79. The statistical methods used for data analysis included frequency distribution, percentages, means, and standard deviations. Hypothesis testing utilized t-tests, one-way ANOVA, and Scheffe’s method for post-hoc analysis. The results revealed: 1) personal factors of the respondents were predominantly male, aged 40-50 years, holding a bachelor's degree, with 10-20 years of work experience, an average monthly income exceeding 50,000 Baht, and positions as managers or supervisors. Most organizations had been operating for over 10 years, employed at least 200 staff, invested over 10 million Baht in technology, primarily belonged to the automotive industry, and allocated at least 2 million Baht for personnel development. 2) Overall, the importance of high-performance organization characteristics was rated high, with management quality having the highest average, followed by long-term results focus, continuous improvement, organizational quality, and practical openness and concern, respectively. 3) Hypothesis testing indicated that differing operational characteristics influenced the approaches to organizational enhancement, particularly among businesses operating for over 10 years, those with at least 200 employees, those investing over 10 million Baht in technology, those in the automotive industry, and those allocating at least 2 million Baht for personnel development.en
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาลักษณะการดำเนินงานขององค์กรภาคอุตสาหกรรมการผลิตในจังหวัดระยอง 2) เพื่อศึกษาแนวทางการยกระดับองค์กรให้มีสมรรถณะสูงของภาคอุตสาหกรรมการผลิตจังหวัดระยอง 3) เพื่อเปรียบเทียบความแตกต่างของแนวทางการยกระดับองค์กรให้มีสมรรถนะสูงของภาคอุตสาหกรรมการผลิตจังหวัดระยอง จำแนกตามลักษณะการดำเนินงานขององค์กร กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยในครั้งนี้ ได้แก่ กลุ่มกิจการโรงงานอุตสาหกรรมการผลิต 120 ราย ผู้ให้ข้อมูลคือ ผู้บริหารองค์กร เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม แนวทางการยกระดับองค์กรโดยรวม มีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.97 ค่าอำนาจจำแนก (Corrected Item-Total Correlation) มีอยู่ระหว่าง 0.57 – 0.85 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การแจกแจงความถี่ (Frequencies) ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) สถิติที่ใช้ในการทดสอบสมมติฐาน ได้แก่ การเปรียบเทียบความแตกต่างของค่าเฉลี่ย (t-test) การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (ANOVA) การวิเคราะห์ความแตกต่างของค่าเฉลี่ยเป็นรายคู่ (Scheffe)ผลการวิจัยพบว่า 1) ปัจจัยส่วนบุคคลของผู้ตอบแบบสอบถาม พบว่า ส่วนใหญ่เป็นเพศชาย อายุ 40 – 50 ปี วุฒิการศึกษาปริญญาตรี ประสบการณ์การทำงาน 10 – 20 ปี รายได้เฉลี่ยต่อเดือนมากกว่า 50,000 บาท และมีตำแหน่งงานเป็นผู้จัดการ / หัวหน้างาน ลักษณะการดำเนินงานขององค์กร               พบว่า ส่วนใหญ่กิจการโรงงานอุตสาหกรรมการผลิตมีระยะเวลาในการดำเนินธุรกิจ 10 ปี ขึ้นไป จำนวนพนักงานในองค์กรตั้งแต่ 200 คนขึ้นไป การลงทุนในเทคโนโลยีตั้งแต่ 10 ล้านบาทขึ้นไป ประเภทอุตสาหกรรมส่วนใหญ่คือประเภทยานยนต์ และงบประมาณในการพัฒนาศักยภาพบุคลากรตั้งแต่ 2 ล้านบาทขึ้นไป 2) ข้อมูลเกี่ยวกับองค์กรสมรรถนะสูงโดยรวม มีระดับความสำคัญอยู่ในระดับมากและเมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านคุณภาพการจัดการมีค่าเฉลี่ยสูงสุด รองลงมา ได้แก่ ด้านการมุ่งเน้นผลลัพธ์ระยะยาว ด้านการปรับปรุงและฟื้นฟูอย่างต่อเนื่อง ด้านคุณภาพขององค์กร และด้านการเปิดกว้างและใส่ใจเชิงปฏิบัติ ตามลำดับ 3) ผลการทดสอบสมมติฐาน ลักษณะการดำเนินงานขององค์กรแตกต่างกันส่งผลต่อแนวทางการยกระดับองค์กรแตกต่างกัน จำแนกตามการลงทุนในเทคโนโลยี งบประมาณในการพัฒนาศักยภาพบุคลากร โดยเฉพาะอย่างยิ่ง กลุ่มกิจการที่มีระยะเวลาดำเนินงาน 10 ปีขึ้นไป กลุ่มกิจการที่มีพนักงานในองค์กรจำนวนตั้งแต่ 200 คนขึ้นไป กลุ่มกิจการที่ลงทุนในเทคโนโลยีตั้งแต่ 10 ล้านบาทขึ้นไป กลุ่มกิจการอุตสาหกรรมประเภทยานยนต์ และกลุ่มกิจการที่ลงทุนงบประมาณในการพัฒนาศักยภาพบุคลากรตั้งแต่ 2 ล้านบาทขึ้นไปth
dc.language.isoth
dc.publisherKing Mongkut's University of Technology North Bangkok
dc.rightsKing Mongkut's University of Technology North Bangkok
dc.subjectยกระดับองค์กรให้มีสมรรถนะสูงth
dc.subjectคุณภาพการจัดการth
dc.subjectการเปิดกว้างและใส่ใจเชิงปฎิบัติth
dc.subjectการมุ่งเน้นผลลัพธ์ระยะยาวth
dc.subjectการปรับปรุงและฟื้นฟูอย่างต่อเนื่องth
dc.subjectคุณภาพองค์กรth
dc.subjectHigh Performance Organizationen
dc.subjectManagement Qualityen
dc.subjectOpenness and Practical Concernen
dc.subjectLong-term Resultsen
dc.subjectContinuous Improvement and Recoveryen
dc.subjectOrganizational Qualityen
dc.subject.classificationBusinessen
dc.subject.classificationInformation and communicationen
dc.subject.classificationMusic and performing artsen
dc.titleGuidelines for upgrade to the High Performance Organization (HPO) in Production Industry, Rayongen
dc.titleแนวทางการยกระดับองค์กรให้มีสมรรถนะสูงของภาคอุตสาหกรรมการผลิตในจังหวัดระยองth
dc.typeIndependent Studyen
dc.typeการค้นคว้าอิสระth
dc.contributor.coadvisorPANNARAI LATAen
dc.contributor.coadvisorพรรณราย ละตาth
dc.contributor.emailadvisorpannarai.l@fba.kmutnb.ac.th,pannarail@kmutnb.ac.th
dc.contributor.emailcoadvisorpannarai.l@fba.kmutnb.ac.th,pannarail@kmutnb.ac.th
dc.description.degreenameMaster of Business Administration (บธ.ม.)en
dc.description.degreenameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (M.B.A.)th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineIndustrial Business Administrationen
dc.description.degreedisciplineบริหารธุรกิจอุตสาหกรรมth
Appears in Collections:FACULTY OF BUSINESS ADMINISTRATION

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
s6614011857061.pdf1.29 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.